วันอังคารที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2567

45 (Exam Math ONET ก.พ.-64-ข้อ 3)

 


Cool Facts About Maths

5. Conversely, “one” is the only number that is spelt with letters arranged in descending order.

6. From 0 to 1000, the only number that has the letter “a” in it is “one thousand”.

7. ‘Four’ is the only number in the English language that is spelt with the same number of letters as the number itself.

8. Every odd number has an “e” in it.

9. The reason Americans call mathematics “math”, is because they argue that “mathematics” functions as a singular noun so ‘math’ should be singular too.

10. Markings on animal bones indicate that humans have been doing maths since around 30,000BC.

วันจันทร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2567

44 (Exam Math ONET ก.พ.-64-ข้อ 2)

 




Cool Facts About Maths

1. The word “hundred” comes from the old Norse term, “hundrath”, which actually means 120 and not 100.

2. In a room of 23 people there’s a 50% chance that two people have the same birthday.

3. Most mathematical symbols weren’t invented until the 16th century. Before that, equations were written in words.

4. “Forty” is the only number that is spelt with letters arranged in alphabetical order.

5. Conversely, “one” is the only number that is spelt with letters arranged in descending order.

วันพุธที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2567

43 (Exam Math ONET ก.พ.-64-ข้อ 1)

 



มีความสุขกับสิ่งที่อยู่ตรงหน้า ดีกว่าไปฝันหากับสิ่งที่ยังมาไม่ถึง

ถ้าเป็นความสุขให้ใครไม่ได้ ก็เป็นความสุขให้ตัวเองอ่ะดีที่สุดละ

ไม่รู้หรอกว่า 365 วัน จะเป็นวันของใคร แต่มันต้องมีสักวัน ที่เป็นวันของเรา

คนอื่นจะให้คุณค่าเรามากเท่าไร ก็ไม่เท่าเราให้คุณค่าตัวเอง

สิ่งที่ควรอยู่ใกล้คือความสบายใจ สิ่งควรควรห่างไกลคือความกังวล

วันอังคารที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2567

42 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ 25)

 


พลังบวก

ทุกๆ วันอาจไม่ใช่วันที่ดี แต่มันอาจมีสิ่งดีๆ เกิดขึ้นในทุกๆ วัน

อย่าพึ่งท้อในวันที่ล้ม อย่าตรอมตรมในวันที่ล้า

บางสิ่งเรียบง่ายที่สุด แต่มีความสุขที่สุด

มันเป็นเพียงวันที่แย่ แต่ไม่ใช่ทั้งชีวิตที่แย่

จงภูมิใจในความไม่สมบูรณ์แบบ เพราะมันจะช่วยให้เราพัฒนาตัวเองต่อไป

วันจันทร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2567

41 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ 24)

 


พลังบวก

6. ไม่ต้องยืนในที่ที่ดีที่สุด จงยืนในที่ที่ทำให้เรามีความสุขก็พอ

7. ไม่ว่าจะมาจากไหน รวยหรือจน ความฝันของทุกคน สำคัญเท่ากัน

8. ท้องฟ้าเปลี่ยนแปลงได้ทุกวัน….ชีวิตเราก็เช่นกัน

9. พอไม่คาดหวัง เราก็จะมีความสุขกับสิ่งที่ไม่คาดคิดอยู่เสมอ

10. อย่ายึดติดกับอดีต จงก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างมีความสุข

วันอาทิตย์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2567

40 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ 23)

 



พลังบวกแห่งชีวิต

1. คนที่ยอมแพ้ไม่เคยชนะ และผู้ชนะไม่เคยยอมแพ้

2. เติมสุขให้ตัวเองอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง ปริมาณไม่สำคัญเท่าความสม่ำเสมอ

3. จงรักตัวเองให้เป็น เพราะมันจำเป็นเวลาไม่มีใคร 

4. เพราะชีวิตยังมีหวัง เลยบอกตัวเองให้สู้อยู่ทุกวัน

5. ทุกการเปลี่ยนแปลงจะพาเราไปเจอสิ่งที่เหมาะสมกว่าเสมอ

วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2567

39 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ 22)





Function

In mathematics, a function from a set X to a set Y assigns to each element of X exactly one element of Y. The set X is called the domain of the function and the set Y is called the codomain of the function.

Functions were originally the idealization of how a varying quantity depends on another quantity. For example, the position of a planet is a function of time. Historically, the concept was elaborated with the infinitesimal calculus at the end of the 17th century, and, until the 19th century, the functions that were considered were differentiable (that is, they had a high degree of regularity). The concept of a function was formalized at the end of the 19th century in terms of set theory, and this greatly enlarged the domains of application of the concept.

วันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

38 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ 21)

Real numbers 

Real numbers can be defined as the union of both rational and irrational numbers. They can be both positive or negative and are denoted by the symbol “R”. All the natural numbers, decimals and fractions come under this category. See the figure, given below, which shows the classification of real numerals.

37 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ 20)


ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ 

          ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ จากการศึกษาเรื่องความน่าจะเป็นสามารถช่วยให้เรารู้ว่าเหตุการณที่พิจารณาอยู่นั้นมีโอกาสเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด แต่บางเหตุการณ์ความรู้ เรื่องความน่าจะเป็นเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอที่จะช่วยเราตัดสินใจได้ จำเป็นจะต้องหาองค์ประกอบอื่นมาช่วยในการตัดสินใจด้วยซึ่งองค์ประกอบหนึ่ง คือ ผลตอบแทนของการเกิดเหตุการณ์นั้น ในทางสถิติได้นำความน่าจะเป็นของเหตุการณ์และผลตอบแทนของการเกิดเหตุการณ์นั้น พิจารณาประกอบกันเป็นค่าคาดหมาย ซึ่งหาได้จากผลรวมของผลคูณระหว่างความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์กับผลตอบแทนของเหตุการณ์

วันจันทร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2567

36 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ 19)



ความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็น คือการวัดหรือการประมาณความเป็นไปได้ว่า บางสิ่งบางอย่างจะเกิดขึ้นหรือถ้อยแถลงหนึ่ง ๆ จะเป็นจริงมากเท่าใด ความน่าจะเป็นมีค่าตั้งแต่ 0 (โอกาส 0% หรือ จะไม่เกิดขึ้น) ไปจนถึง 1 (โอกาส 100% หรือ จะเกิดขึ้น) ระดับของความน่าจะเป็นที่สูงขึ้น คือความเป็นไปได้มากขึ้นที่เหตุการณ์นั้นจะเกิด หรือถ้ามองจากเงื่อนเวลาของการสุ่มตัวอย่าง คือจำนวนครั้งมากขึ้นที่เหตุการณ์เช่นนั้นคาดหวังว่าจะเกิด

วันพฤหัสบดีที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2567

35 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ19)


Probability

Probability defines the likelihood of occurrence of an event. There are many real-life situations in which we may have to predict the outcome of an event. We may be sure or not sure of the results of an event. In such cases, we say that there is a probability of this event to occur or not occur. Probability generally has great applications in games, in business to make predictions, and also it has extensive applications in this new area of artificial intelligence.

The probability of an event can be calculated by the probability formula by simply dividing the favourable number of outcomes by the total number of possible outcomes. The value of the probability of an event happening can lie between 0 and 1 because the favourable number of outcomes can never be more than the total number of outcomes. Also, the favorable number of outcomes cannot be negative. Let us discuss the basics of probability in detail in the following sections.

34 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ18)


Permutation

A permutation is an arrangement of objects in a definite order. The members or elements of sets are arranged here in a sequence or linear order. For example, the permutation of set A={1,6} is 2, such as {1,6}, {6,1}. As you can see, there are no other ways to arrange the elements of set A.

In permutation, the elements should be arranged in a particular order whereas in combination the order of elements does not matter. Also, read: Permutation And Combination

When we look at the schedules of trains, buses and the flights we really wonder how they are scheduled according to the public’s convenience. Of course, the permutation is very much helpful to prepare the schedules on departure and arrival of these. Also, when we come across licence plates of vehicles which consists of few alphabets and digits. We can easily prepare these codes using permutations.

33 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ17)







ความหมายของการนำเสนอข้อมูล

การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็น หรือ ความต้องการไปสู่ผู้รับสาร โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่างๆ อันจะทำให้บรรลุผลสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของการนำเสนอ

ความสำคัญของการนำเสนอ
         การนำเสนอข้อมูล เป็นการนำเอาข้อเท็จจริง ข้อมูล รายละเอียดต่างๆ ที่เก็บรวบรวมข้อมูลมาจัดให้เป็น ระเบียบ เพื่อมุ่งที่ให้ผู้ใช้ข้อมูลมองเห็นลักษณะสำคัญ ของข้อมูลเหล่านั้น และสามารถอ่านรายละเอียด หรือเปรียบเทียบข้อเท็จจริง ข้อมูล รายละเอียดเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ ของผู้ใช้ข้อมูล อาจกล่าวได้ว่า วัตถุประสงค์สำคัญของการนำเสนอข้อมูลก็เพื่อจะนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ มาเสนอหรือเผยแพร่ให้ผู้สนใจข้อมูลนั้นๆ ทราบ หรือ สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้
          การนำเสนอข้อมูลเป็นขั้นตอนในการเตรียมข้อมูลให้พร้อมสำหรับ การวิเคราะห์และการแปลความหมาย สรุปผลข้อมูล เพื่อนำสารสนเทศนั้นไปใช้ใน การตัดสินใจสำหรับการทำงานต่อไป รวมถึงการเลือกวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลจากรูปแบบและลักษณะสำคัญของข้อมูล นั้นๆ ได้ถูกต้องอีกด้วย โดยทั่วไปการนำเสนอข้อมูลอาจทำได้ใน 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ
           1. การนำเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน (informal presentation) หมายถึง การนำเสนอข้อมูลที่ไม่มีกฎเกณฑ์ หรือแบบแผนที่แน่นอนตายตัว เป็นการอธิบายลักษณะของข้อมูลตามเนื้อหาข้อมูล ที่นิยมใช้มีสองวิธีคือ การนำเสนอข้อมูลในรูปบทความหรือข้อความเรียง และการนำเสนอข้อมูล ในรูปบทความกึ่งตาราง
           2. การนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน (formal presentation) หมายถึง การนำเสนอข้อมูลที่มีกฎเกณฑ์ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดไว้เป็น แบบอย่าง การนำเสนอข้อมูลประเภทนี้ที่นิยมคือ การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟหรือแผนภูมิ

32 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ16)





แผนภูมิรูปวงกลม (Pie chart) คือ แผนภูมิที่แสดงด้วยรูปวงกลม โดยแบ่งวงกลมออกเป็นส่วนๆ จากจุดศูนย์กลางของวงกลม เป็นการนำเสนอที่ต้องการเปรียบเทียบปริมาณของข้อมูล ซึ่งพื้นที่ในวงกลมแทนปริมาณของข้อมูลต่างๆ นิยมคิดข้อมูลให้อยู่ในรูปร้อยละ

แผนภูมิรูปวงกลม นิยมใช้เมื่อต้องการเปรียบเทียบจำนวนย่อยๆกับจำนวนทั้งหมด พร้อมกับเปรียบเทียบจำนวนย่อยๆด้วยกันเอง เหมาะแก่การนำเสนอข้อมูลจำนวนร้อยละ ( เปอร์เซ็นต์ ) มากกว่าแผนภูมิแบบอื่นๆ

การนำเสนอข้อมูลด้วย แผนภูมิรูปวงกลม ซึ่งเป็นแผนภูมิที่แสดงด้วยวงกลม โดยการแทนปริมาณข้อมูลทั้งหมดด้วยพื้นที่ในวงกลมหนึ่งวง และแบ่งพื้นที่ในวงกลมจากจุดศูนย์กลางออกเป็นส่วนของวงกลมย่อยๆ ตามส่วนของปริมาณที่นำเสนอ แล้วเขียนตัวเลขแสดงข้อมูลกำกับไว้

31 (Exam Math ONET ก.พ.-65-ข้อ15)





A standard deviation (or σ) is a measure of how dispersed the data is in relation to the mean. Low, or small, standard deviation indicates data are clustered tightly around the mean, and high, or large, standard deviation indicates data are more spread out. A standard deviation close to zero indicates that data points are very close to the mean, whereas a larger standard deviation indicates data points are spread further away from the mean.